วันศุกร์ที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2552



Tour de France



The Tour de France is an annual bicycle race that covers around 3,500 kilometres (2,200 mi) throughout France and bordering countries. The race lasts 23 days and attracts cyclists from around the world. The race is broken into day-long segments, called stages. Individual times to finish each stage are totalled to determine the overall winner at the end of the race. The rider with the lowest aggregate time at the end of each day wears a yellow jersey.[1] The course changes every year but it has always finished in Paris and in more recent years along the Champs-Élysées. The Tour de France is the most well known and prestigious of cycling's three "Grand Tours". The other two Grand Tours are the Giro d'Italia (Italy) held every May and the Vuelta a España (Spain) held every August-September.




Description

The Tour de France is a bicycle race known around the world. It typically has 21 days, or stages, of racing and covers not more than 3,500 kilometres (2,200 mi).[2] The shortest Tour was in 1904 at 2,420 kilometres (1,500 mi), the longest in 1926 at 5,745 kilometres (3,570 mi).[3] The three weeks usually include two rest days, sometimes used to transport riders from a finish in one town to the start in another. The race alternates between clockwise and anticlockwise circuits of France. The New York Times said the "Tour de France is arguably the most physiologically demanding of athletic events." The effort was compared to "running a marathon several days a week for nearly three weeks", while the total elevation of the climbs was compared to "climbing three Everests."[4]

The 2004 Tour rides the Champs Élysées
The number of teams usually varies between 20 to 22, with nine riders in each. Entry is by invitation to teams chosen by the race organiser, the
Amaury Sport Organisation. Team members help each other and are followed by managers and mechanics in cars.
Riders are judged by the time each has taken throughout the race, a ranking known as the
general classification. There may be time deductions for finishing well in a daily stage or being first to pass an intermediate point. It is possible to win without winning a stage, as Greg LeMond did in 1990. There are subsidiary competitions (see below), some with distinctive jerseys for the best rider.
Riders normally start together each day, with the first over the line winning, but some days are ridden against the clock by individuals or teams. The overall winner is usually a master of the mountains and of these time trials. Most stages are in mainland France, although since the 1960s it has become common to visit nearby countries.
[5] Stages can be flat, undulating or mountainous. Since 1975 the finish has been on the Champs-Élysées in Paris; before then, the race finished at the Parc des Princes stadium in western Paris and at the Piste Municipale south of the capital.

วันเสาร์ที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2552

วันอาฬสาหบูชา

วันอาฬสาหบูชา
วันอาสาฬหบูชา เป็นวันที่สมเด็จพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าได้แสดง พระปฐมเทศนา หรือการแสดง พระธรรมครั้งแรก หลังจากที่ตรัสรู้ได้ ๒ เดือน เป็นวันที่เริ่มประดิษฐานพระพุทธศาสนาเนื่องจากมีองค์ประกอบของ พระรัตนตรัยครบถ้วนคือ พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นก่อนพุทธศักราช ๔๕ ปี ในวันเพ็ญ (ขึ้น ๑๕ ค่ำ) เดือน ๘ ดวงจันทร์ เสวยมาฆฤกษ์ การแสดงพระปฐมเทศนา ได้ทรงแสดงแก่ปัญจวัคคีย์ ณ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี ปัจจุบันคือสารนาถ เมืองพาราณสี พระธรรมที่แสดงคือ ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร เมื่อเทศนาจบ พระโกณฑัญญะ หนึ่งในปัญจวัคคีย์ ผู้ประกอบด้วย พระโกณฑัญญะ พระวัปปะ พระภัททิยะ พระมหานาม และพระอัสสชิ ก็ได้ดวงตาเห็นธรรม มีความเห็นแจ้งชัดว่า ยํ กิญฺจิ สมุทยธมฺมํ สพฺพนฺตํ นิโรธธมฺมนฺติ สิ่งใดสิ่งหนึ่งเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งใดสิ่งนั้นย่อมดับไปเป็นธรรมดา

เมื่อได้ดวงตาเห็นธรรมจึงขออุปสมบทเป็นพระภิกษุในพระพุทธศาสนา พระพุทธเจ้าก็ประทานอุปสมบทให้ ด้วยวิธีที่เรียกว่า เอหิภิกขุอุปสัมปทา โดยกล่าวคำว่า เธอจงเป็นภิกษุมาเกิด พระโกณฑัญญะจึงเป็น พระอริยสงฆ์องค์แรก
คำว่าธัมมจักกัปปวัตตนสูตร แปลว่าสูตรของการหมุนวงล้อแห่งพระธรรมให้เป็นไปมีความโดยย่อว่า

ที่สุด 2 อย่างที่บรรพชิตไม่ควรประพฤติปฏิบัติคือ การประกอบตนให้อยู่ในความสุขด้วยกาม ซึ่งเป็นธรรมอันเลวเป็นของชาวบ้าน เป็นของปุถุชน ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ที่สุดอีกทางหนึ่งคือ การประกอบการทรมานตนให้เกิดความลำบาก ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์

การดำเนินตามทางสายกลาง ไม่เข้าไปใกล้ที่สุดทั้งสองอย่างนั้น เป็นเรื่องที่พระพุทธเจ้าได้ตรัสรู้ ด้วยปัญญาอันยิ่ง ทำดวงตาและญาณให้เกิด เป็นไปเพื่อความสงบระงับ ความรู้ยิ่ง ความตรัสรู้ และนิพพาน ทางสายกลาง ได้แก่ อริยมรรค มีองค์แปด คือ ปัญญาอันเห็นชอบ ดำริห์ชอบ เจรจาชอบ การงานชอบ เลี้ยงชีพชอบ พยายามชอบ ระลึกชอบ และตั้งใจชอบ อริยสัจสี่ คือความจริงอันประเสริฐที่พระองค์ค้นพบ มี 4 ประการได้แก่ ความทุกข์ ได้แก่ ความเกิด ความแก่ ความตาย ความได้พบกับสิ่งที่ไม่เป็นที่รัก ความพลัดพรากจากสิ่งอันเป็นที่รัก ปรารถนาสิ่งใดแล้วไม่ได้สิ่งนั้น ว่าโดยย่อ อุปาทานในขันธ์ ๕ เป็นทุกข์ สาเหตุแห่งทุกข์ ได้แก่ ตัณหาความทะยานอยาก อันทำให้เกิดอีกความกำหนัด เพลิดเพลินในอารมณ์ คือกามตัณหา ความทะยานอยากในกาม ภวตัณหา ความทะยานในภพ วิภวตัณหา ความทะยานอยากในความไม่มีภพ ความดับทุกข์ โดยการดับตัณหาด้วยอริยมรรค คือ วิราคะ สละ ดับ ปล่อยไป ไม่พัวพัน หนทางปฏิบัติเพื่อดับทุกข์ ได้แก่ อริยมรรคมีองค์ 8 คือ
๑. สัมมาทิฏฐิ ปัญญาอันเห็นชอบ
๒. สัมมาสังกัปปะ ดำริชอบ
๓. สัมมาวาจา เจรจาชอบ
๔. สัมมากัมมันตะ ทำการงานชอบ
๕. สัมมาอาชีวะ เลี้ยงชีวิตชอบ
๖. สัมมาวายามะ ความเพียรชอบ
๗. สัมมาสติ ระลึกชอบ
๘. สัมมาสมาธิ ตั้งใจชอบ พระพุทธองค์ทรงประกาศถึงสิ่งที่

พระพุทธองค์ได้ทรงค้นพบด้วยพระองค์เอง สิ่งนั้นก็คือ อริยสัจ มี ๔ ประการ คือ
๑. ทุกข์ คือ ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ ความเดือดร้อนใจ ทุกข์เพราะเกิด - ดับ ความไม่สมหวัง ความพรัดพรากจากคนรัก สิ่งของที่รัก และชอบใจ และทุกข์อันเนื่องมาจากขันธ์ ๕
๒. สมุทัย คือ เหตุให้เกิดทุกข์ ซึ่งได้แก่ตัณหา ๓ อย่าง ได้แก่ ๒.๑ กามตัณหา ความอยากในอารมณ์ที่น่ารักใคร่ น่าชอบใจ ๒.๒ ภวตัณหา ความอยากเป็นโน่นเป็นนี่ ๒.๓ วิภวตัณหา ความอยากไม่เป็นโน่นเป็นนี่
๓. นิโรธ คือ ความดับทุกข์ กำจัดกิเลสตัณหาให้หมดสิ้นไป จิตสงบจากกิเลสและนิวรณ์
๔. มรรค คือ ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์, มรรคนี้ได้แก่ อริยมรรคมีองค์ ๘ ประการ


และเมื่อกล่าวโดยย่อก็ได้แก่สิกขา ๓ อย่าง คือ ศีล สมาธิ ปัญญา นั่นเอง การที่จะเรียกว่าตรัสรู้อริยสัจนั้น ต้องเป็นความรู้ที่มีวนรอบคือ รู้ ๓ ชั้น ด้วยพระญาณทั้ง ๓ คือ
๑. สัจจญาณ ปรีชาหยั่งรู้อริยสัจ
๒. กิจจญาณ ปรีชาหยั่งรู้กิจอันควรทำ
๓. กตญาณ ปรีชาหยั่งรู้กิจอันทำแล้ว


ดวงตา ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง ได้เกิดขึ้นแก่พระองค์ว่า นี้เป็นทุกข์ อันควรกำหนดรู้ และพระองค์ ได้กำหนดรู้แล้ว นี้เป็นสาเหตุแห่งทุกข์ อันควรละ และพระองค์ ได้ละแล้ว นี้เป็นความดับทุกข์ อันควรทำให้แจ้ง และพระองค์ ได



PANDA

PANDA


The Giant Panda (Ailuropoda melanoleuca, literally meaning "cat-foot black-and-white") is a bear native to central-western and southwestern China.[2] The Giant Panda was previously thought to be a member of the Procyonidae (raccoon) family.[3] It is easily recognized by its large, distinctive black patches around the eyes, over the ears, and across its round body. Though belonging to the order Carnivora, the Giant Panda has a diet which is 99% bamboo. The Giant Panda may eat other foods such as honey, eggs, fish, yams, shrub leaves, oranges, and bananas when available.


The Giant Panda lives in a few mountain ranges in central China, in Sichuan, Shaanxi, and Gansu provinces. It once lived in lowland areas, but farming, forest clearing, and other development now restrict the Giant Panda to the mountains.

The Giant Panda is a conservation reliant endangered species.[2] According to the latest report,[4] China has 239 Giant Pandas in captivity and another 27 living outside the country. It also estimated that around 1,590 pandas are currently living in the wild.[4] However, a 2006 study, via DNA analysis, estimated that there might be as many as 2,000 to 3,000 Giant Pandas in the wild.[5] Though reports show that the numbers of wild pandas are on the rise,[6][7] the International Union for Conservation of Nature believes there is not enough certainty to remove the Giant Panda from the endangered animal list.[8]
While the
dragon has historically served as China's national emblem, in recent decades the Giant Panda has also served as an emblem for the country. Its image appears on a large number of modern Chinese commemorative silver, gold, and platinum coins. Though the Giant Panda is often assumed to be docile, it has been known to attack humans, presumably out of irritation rather than predatory behavior